นายทวีศักดิ์ แมนประโคน



วันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ยุคของคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นกี่ยุคและคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง

ยุคของคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นกี่ยุค

ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2488-2501) จะใช้หลอดสูญญากาศเป็นอุปกรณ์สำคัญภาษาที่ใช้
สั่งคอมพิวเตอร์ให้ทำงานต้องใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลข     ในปลายยุคนี้มีการ
นำเทปแม่เหล็กมาเก็บข้อมูลควบคู่กับบัตรเจาะรู หน่วยความจำหลักของคอมพิวเตอร์
ทำด้วยวงแหวนแม่เหล็กขนาดเล็กหน่วยความจำหลักนี้จะเก็บข้อมูลเฉพาะการประมวลผล
ถ้าต้องการเก็บข้อมูลถาวรต้องบันทึกด้วยบัตรเจาะรู  

ยุคที่ 2 ถอดเปลี่ยนได้มาบันทึกข้อมูลแทนการ
ใช้แถบแม่เหล็ก (พ.ศ. 2502-2506)  ยุคนี้ใช้ทรานซีสเตอร์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
แทนหลอดสูญญากาศในยุคนี้มีการใช้ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Language)ซึ่งเป็น
ภาษาที่ใช้คำย่อเป็นคำแทนรหัสตัวเลขในปี พ.ศ. 2505 มีการนำเอาชุดจานแม่เหล็กที่

ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2507-2512)ยุคนี้จะใช้วงจรไอซี  (IC หรือ Integrated Circuits) ซึ่งเป็นการบรรจุวงจรอิเล็กทรอนิกส์จำนวนมากบนแผ่นซิลิกอนเล็กๆแทนการใช้
ทรานซิสเตอร์เล็กๆ ซึ่งทำให้มีความเที่ยงตรงในการทำงานสูงมีความเร็วในการทำงาน
สูงขึ้นราคาถูกและกินไฟน้อย

ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2513 ถึง ปัจจุบัน) จากวงจรไอซี ต่อมาในปี พ.ศ. 2513 ได้มีการพัฒนาแอลเอสไอ (LSI = Large Scale Integration Circuit)ทำให้สามารถ
บรรจุทรานซิสเตอร์ จำนวนหลายพันตัวลงบนแผ่นซิลิกอนขนาด 1/6 ตารางนิ้ว
     ในปี พ.ศ. 2518 สามารถเพิ่มวงจรหลายหมื่นวงจรบนแผ่นซิลิกอนขนาดเท่าเดิม

เรียกว่า วีแอลเอสไอ (VLSI = Very Large Scale Integration Circuit) ทำให้ขนาด
ของคอมพิวเตอร์เล็กลง
5 ยุคเครือข่ายและข้อมูลเพิ่มเติม คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกคือ แอนาไลติคอลเอนจิน

คอมพิวเตอร์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทำงานสูงสุด จึงราคาแพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่ทำได้มากกว่า พันล้านคำสั่งต่อวินาที ตัวอย่างการใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เช่น การพยากรณ์อากาศการทดสอบทางอวกาศ และงานอื่น ๆ ที่มีการคำนวณที่ซับซ้อน
2.คอมพิวเตอร์เมนเฟรมหรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (mainframe computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทำงานจากผู้ใช้ได้หลายร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มีหน่วยความจำหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรม นิยมใช้กับองค์การขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึง ข้อมูลของผู้ใช้จำนวน มากในเวลาเดียวกันเช่น งานธนาคาร การจองตั๋วเครื่องบิน การลงทะเบียนและการตรวจสอบผลการเรียน ของนักศึกษา เป็นต้น
3.เซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ (server computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุนการทำงานของคอมพิวเตอร์ เครือข่ายซึ่งใช้ในการจัดสรรและใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น แฟ้มข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ( เช่น เครื่องพิมพ์แลอุปกรณ์อื่น ๆ )
4.ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)ดังนี้ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีผู้นิยมใช้แพร่หลายมากที่สุด ส่งผลให้การพัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มีลักษณะและรูปแบบ ที่แตกต่างกัน เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ( desktop computer ) คอมพิวเตอร์พกพา ( portable computer ) ซึ่งมีรายละเอียด


5.คอมพิวเตอร์แบบฝัง (embedded computer ) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ฝังในอุปกรณ์ต่าง ๆ นิยมนำมาใช้ทำงาน เฉพาะด้าน พิจารณาจากภายนอกจะไม่เห็นว่าเป็นคอมพิวเตอร์แต่จะ ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานบางอย่างของอุปกรณ์นั้นๆ คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เช่น เครื่องเล่นเกม ระบบเติมน้ำมันอัตโนมัติ โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น6.มินิคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง (minicomputer)เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทำงานน้อยกว่า เมนเฟรมแต่สูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ และสามารถรองรับการทำงาน จากผู้ใช้ได้หลายคนในการทำงาน ที่แตกต่างกัน จากจุดเริ่มต้นใน การพัฒนา ที่ต้องการให้ คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ทำงานเฉพาะอย่าง เช่น การคำนวณทางด้านวิศวกรรม ทำให้การพัฒนามินิคอมพิวเตอร์ เจริญอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันธุรกิจและองค์การหลายประเภทนิยมนำ มินิคอมพิวเตอร์มา ใช้ในการให้บริการข้อมูลแก่ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม การทำงานด้านบัญชีขององค์การธุรกิจ เป็นต้น

วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2554

บรรณานุกรม

บรรณานุกรมจากอินเตอร์เน็ต

วิกิพีเดีย  สารสนุกรมเสรี.  (2544).  วินาศกรรม 11 กันยายน 2544.
                  ค้นเมื่อ 21 กันยายน 2554, จากhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1_11_%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2544#.E0.B8.AD.E0.B9.89.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B8.AD.E0.B8.B4.E0.B8.87

บรรณานุกรมจากหนังสือ

ความรู้รอบตัว.(2532). กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้ง เฮาส์.


บรรณานุกรมจากวารสาร

นิภาพร เมืองจันทร์, ธาราตน์ พรยิ้ม, โยธกา ถานะลุน, สุธัญญมาศ บุระมุข and สุภารัตน์ คําแดง.
     ระดับสมรรถภาพปอดของตํารวจจราจรจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารVBU Journal,13(1).
     

 


      

วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2554

งานโปรเจ๊ก

1.  ให้นักศึกษาเขียนบรรณานุกรมสารนิเทศ  ที่ใช้ในการทำโปรเจ๊ก  จํานวน  5 รายการ  ลงในตาราง

                                         
ลำดับที่
 ชื่อผู้แต่ง
 ชื่อบทความ
ชื่อวารสาร
เมืองที่พิมพ์
สำนักพิมพ์
ปีพิมพ์
ฉบับที่
เดือน
เลขหน้าบท
ความ

   1
กันย์
9วิธีเอาชนะอุปสรรคในชวิต
    -

สุราษฎร์ธานี
     -
    -
   - 
   -
songpak16.com
/aticle/9coice.html
       
   2
สาระ
อุปสรรค
     -
    -
     -
  2554
   -
 30มิ.ย
forthais.org/sara/
obstruction.htm

    3
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์
10 วิธีเอาชนะอุปสรรค เพื่อก้าวสู่ความสำเร็จ
    -
     -

      -
  2553
  -
  
  4  มิ.ย
co.th/guru/
thread?tid=475b6865bc65361

   4
ดร.อาจอง ชุมสาย
อุปสรรคและปัญหาชีวิต
 
  -
อยุธยา
      -
2553
  -
19 พ.ค
co.th/guru/

     
  5
พระอาจารย์ยุทธนา เตชปัญโญ
วิธีทำให้ชีวิตเสรี-จิตอิสระจากความทุกข์
ชีวิตเสรี-จิตอิสระจึงไร้ทุกข์
        
         -
        
             -
 2553

    -

 13 ก.พ.

 


  6
ธันยธรณ์ ยัญญางกูร.
การเอาชนะอุปสรรค
      -
  กรุงเทพมหานคร
สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
     -
    -
    -


tdc/browse.php?option

2.อ่านเนื้อหาคร่าวๆ จากเอกสารแต่ละรายการในข้อ 1  เพื่อวิเคราะห์หาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการทำโปรเจ๊ก  และเขียนลงในตาราง
                     
                         
          ลำดับที่1
          ลำดับที่2
        ลำดับที่3
          ลำดับที่4
         ลำดับที่5
1.รู้จักเข้าใจอุปสรรค
2.วิธีเอาชนะอุปสรรคในชีวิต
3.เป็นตัวอย่างและเป็นกำลังใจให้แก่คนรุ่นหลังเรียนรู้
1.ความหมายอุปสรรค
2.รูปแบบอุปสรรคต่างๆ
3.อธิบายรูปแบบอุปสรรคต่างๆ
1.แพ้แล้วแต่ไม่ยอมแพ้
2. 10 วิธีเอาชนะอุปสรรค
3.  อธิบายแต่ละวิธีเพื่อให้เข้าใจ
1.วิธีแก้อุปสรรค
2.พบปัญหาอย่าหนี
3. ตั้งหลักเริ่มต้นใหม่
1.ยอมรับปัญหา
2.รู้วิธีดับธีดับปัญหา
3.ชนะอุปสรรคด้วยการเข้าใจดับความทุกข์